เตรียมสกิลคุณให้พร้อม

Mendix Low-Code
ตอบโจทย์อย่างไร
สร้างแอปฯไว ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ลดงานซ้ำซ้อนให้การสร้างแอปฯ ไม่น่าเบื่อ เพราะมีระบบทดสอบในตัว
ทีมเวิร์กมากขึ้น ด้วยระบบสื่อสารภายในทีม
Low-Code มีความยืดหยุ่น สามารถพัฒนาและแก้ไข Code ได้อย่างรวดเร็ว
รองรับงานข้ามสาย ไม่ต้องมีทักษะโค้ดดิ้งก็ทำได้
เพิ่มโอกาสพัฒนาสกิลที่เป็นที่ต้องการของตลาดโลก
ประสบการณ์หลังใช้ Low-Code By Mendix
บทสัมภาษณ์ผู้ใช้งานจริงจาก หัวหน้าทีม และ ผู้เชี่ยวชาญ Mendix

แอม พรนิภา พูลคล้าย
รวดเร็ว แก้ปัญหาง่าย และ ทำงานเป็นทีม 3 คำที่ บอกความประทับใจของ Low-Code By Mendix
แอม-พรนิภา พูลคล้าย, หัวหน้าโครงการจาก TBN Corporation
ความรวดเร็ว
ถ้าลูกค้ามีโปรดักท์ที่จะเอาออกตลาดในอีก 2-3 เดือนข้างหน้า คำนวณไว้ว่าใช้ เวลา 5-6 เดือนในการพัฒนา ก็จะไม่ทันตลาดแน่ ๆ แต่ถ้าใช้ Mendix เขียนครู่ เดียวก็เสร็จ"
การแก้ปัญหา
"ข้อดีของ Mendix จะแก้งานได้ง่ายกว่า และอิมแพ็ก (กระทบ) น้อยกว่า ถ้าเรา อยากจะแก้จุด ๆ หนึ่ง สมมุติเราไปลบตัวแปร ตัวหนึ่งออก จะมี Error ฟ้องเรา ได้ทันทีว่าเป็นจุดไหน ๆ เราตามแก้ได้ค่อนข้างง่าย แต่ถ้าเป็น Hard-Code ที่ เขียนเป็นพัน ๆ บรรทัด แก้ได้ยากกว่าเยอะค่ะ"
ทีม
"แอมมี นักพัฒนาซอฟท์แวร์ ในทีม 2 คน SA 1 คน ซึ่ง SA ของทีมแอมจะไม่ เหมือนทีมอื่น เขาต้อง Coding เป็นด้วย เพื่อที่จะ Verify ว่าสิ่งที่ นักพัฒนา ซอฟท์แวร์ 2 คน ทำมา คุณภาพได้ไหม ขณะเดียวกันว่าเวลาเขาจะมอบหมาย งานให้นักพัฒนาซอฟท์แวร์เขาก็จะมีภาพที่ออกมาแบบมาแล้ว พอไปคุยงานกัน ก็แค่บอกว่าให้คุณไปทำ Function นี้ ที่หน้านี้ ทำให้การคุยงานระหว่างนักพัฒนา ซอฟท์แวร์กับ SA ง่ายขึ้น"

บุ๋ม ณัฐนิฌาซ์ แก้วกิ่ง
สาย Hardcore Coding ยิ่งใช้ Low-Code ก็ยิ่งเร็วและง่าย
บุ๋ม ณัฐนิฌาซ์ แก้วกิ่ง, TBN Software’s Project Manager

เบียร์ - ธนรัตน์ รังรน
ทีมเวิร์กไม่ติดขัด พัฒนาได้รวดเร็วทันใจ ด้วยLow-Code
เบียร์ ธนรัตน์ รังรน, Technical Leader
เพราะ Low-Code สามารถช่วยให้การพัฒนาแอปฯ ที่เคยใช้เวลานานและดูเป็นงานที่หนัก ก็สามารถร่นระยะเวลาการทำงานได้ โดยเริ่มต้นจากการใช้ Low-Code เพื่อพัฒนาสิ่งที่เป็น Fundamental และค่อยๆ เขียนโค้ดแบบแมนนวลในส่วนที่เหลือ การทำแบบนี้จะช่วยให้ประหยัดเวลาได้มากถึง 50%
อีกเรื่องที่มองข้ามไม่ได้ก็คือ จำนวนนักพัฒนาซอฟท์แวร์แต่ก่อนบริษัทที่ใช้การพัฒนาแบบ High-Code จะต้องใช้นักพัฒนาซอฟท์แวร์จำนวนมากเพื่อร่วมกันพัฒนา ซึ่งหมายถึง Budget ที่สูงขึ้นตามมาด้วย แต่ถ้าเป็น Low-Code คุณสามารถจัดการโปรเจคโดยใช้คนน้อยกว่า หรือสามารถเทรนนิ่งให้ Business User สามารถสร้าง Prototype เบื้องต้น แล้วส่งต่อให้ Developer เพื่อเติมเต็มให้สมบูรณ์แบบก็สามารถช่วยกระจายงานต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น

Quang Nhat Tran
ไม่ต้องกลัว Low-Code จะมาแย่งงาน แต่ให้ Low-Code สร้างงานให้ เปลี่ยนชีวิตให้ง่ายขึ้น
Quang Nhat Tran, Technical Lead
เพราะ Low-Code สามารถช่วยให้การพัฒนาแอปฯ ที่เคยใช้เวลานานและดูเป็นงานที่หนัก ก็สามารถร่นระยะเวลาการทำงานได้ โดยเริ่มต้นจากการใช้ Low-Code เพื่อพัฒนาสิ่งที่เป็น Fundamental และค่อยๆ เขียนโค้ดแบบแมนนวลในส่วนที่เหลือ การทำแบบนี้จะช่วยให้ประหยัดเวลาได้มากถึง 50%
อีกเรื่องที่มองข้ามไม่ได้ก็คือ จำนวนนักพัฒนาซอฟท์แวร์แต่ก่อนบริษัทที่ใช้การพัฒนาแบบ High-Code จะต้องใช้นักพัฒนาซอฟท์แวร์จำนวนมากเพื่อร่วมกันพัฒนา ซึ่งหมายถึง Budget ที่สูงขึ้นตามมาด้วย แต่ถ้าเป็น Low-Code คุณสามารถจัดการโปรเจคโดยใช้คนน้อยกว่า หรือสามารถเทรนนิ่งให้ Business User สามารถสร้าง Prototype เบื้องต้น แล้วส่งต่อให้ Developer เพื่อเติมเต็มให้สมบูรณ์แบบก็สามารถช่วยกระจายงานต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น
เข้าร่วมคอมมูนิตี้ Mendix กับเรา
Get all your questions answered in the Mendix community